Happy Vampires โหลดเพลงแกรมมี่แบบไม่ยั้ง แค่เดือนละ 20 บาท Click ที่นี่เลย
วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ใบงานที่ 6
การใช้งาน Google
ปัจจุบันการใช้งาน Internet จะปรากฏ Web Site ให้เราสามารถเยี่ยมชมได้มากมายหลายประเภท และได้มีการบรรจุข้อมูลข่าวสารอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ ซึ่งถ้าเราต้องการค้นหาข้อมูลที่อยู่ในระบบ Internet1 เราอาจใช้อุปกรณ์ Tools ที่เรียกว่า ตัวค้นหา (Search Engire) โดยตัวค้นหา (Search Engire) นี้จะถูกบรรจุอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ เช่น www.google.com ,www.yahoo.com, www.lycos.com ในเอกสารนี้จะแนะนำถึงการใช้งานค้นหา (Search Engire) ของ www.google.com ซึ่งจำเป็นตัวค้นหา (Search Engire) ที่นิยมใช้มากสุดและมีฐานข้อมูล (data base) ของ Web Site ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งจะมีรูปแบบที่มีคำอธิบายการใช้งานเป็นภาษาไทยที่ Web Site www.google.co.th
สืบค้นจาก www.google.co.th
ชื่อ ชื่อภาษาอังกฤษ รายละเอียดย่อ
กูเกิล เสิร์ช
Google Search เว็บไซต์เสิร์ชเอนจินค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต มีให้บริการมากกว่า 100 ภาษา
กูเกิล กรุ๊ปส์
Google Groups บริการเว็บบอร์ด และสร้างเว็บไซต์ของกลุ่ม
กูเกิล ค้นหารูปภาพ
Google Image Search บริการค้นหารูปภาพออนไลน์
กูเกิล แคเลนเดอร์
Google Calendar บริการปฏิทินและจดวันนัดหมาย
จีเมล
Gmail บริการอีเมล
กูเกิล ไซต์ไกสต์
Google Zeitgeist บริการเปิดให้ดูคำค้นหา คำนิยม รูปแบบ และแนวโน้มในการค้นหาผ่านกูเกิลเสิร์ช
กูเกิล ด็อกส์
Google Docs บริการใช้งานซอฟต์แวร์สำนักงานรวมถึง เวิร์ด สเปรดชีต พรีเซนเตชัน ให้ผู้ใช้สามารถได้ฟรีออนไลน์ โดยเพิ่มเติมความสามารถในการแชร์และให้ผู้ใช้หลายคนสามารถแก้ไขไฟล์เดียวกันพร้อมกันได้โดยผู้ใช้ โดยเริ่มพัฒนาจากซอฟต์แวร์ ไรต์รี (Writely) และ กูเกิล สเปรดชีตส์ (Google Spreadsheet) เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2550
กูเกิล ทรานซเลต
Google Translate บริการแปลข้อความผ่านเว็บไซต์ รวมถึงแปลเว็บไซต์ทั้งหน้า
บล็อกเกอร์
Blogger บริการเขียนบล็อก
กูเกิล บล็อกเสิร์ช
Blog Search บริการค้นหาบล็อก
ปีกาซา
Picasa เว็บไซต์เก็บภาพ ใช้งานคู่กับซอฟต์แวร์ปีกาซา
กูเกิล เพจ
Google Page บริการสร้างเว็บไซต์
กูเกิล แมปส์
Google Maps บริการแผนที่ ค้นหาที่อยู่ ค้นหาธุรกิจและร้านอาหาร
ยูทูบ
YouTube บริการแชร์วิดีโอ
กูเกิล วิดีโอ
Google Video บริการค้นหาวิดีโอออนไลน์
กูเกิล เว็บมาสเตอร์
Google Webmaster ให้บริการเครื่องมือสำหรับเว็บมาสเตอร์ ตรวจสอบเว็บไซต์ ค้นหาดัชนีการค้นหาผ่านกูเกิล ตรวจสอบโรบอตไฟล์
กูเกิล สกอลาร์
Google Scholar บริการค้นหาวารสาร หนังสือ สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ
กูเกิล สกาย
Google Sky ดูดาว และระบบสุริยะจักรวาลผ่านเว็บไซต์
กูเกิล สารบบเว็บ
Google Directory ค้นหาข้อมูลตามหมวดหมู่ ข้อมูลจาก ดีมอซ
ออร์กัต
Orkut เครือข่ายสังคมออนไลน์ลักษณะคล้ายกับ ไฮไฟฟ์ และเฟซบุ้ก ออกแบบโดยวิศวกรกูเกิลชาวตุรกี ออร์กัต บือยืกเคิกเทน (Orkut Büyükkökten) เปิดใช้งานเมื่อ มกราคม 2547
กูเกิล แอดเซนส์
Google AdSense ให้บริการโค้ดสำหรับติดตั้งโฆษณาบนเว็บไซต์ ทำงานคู่กับแอดเวิรดส์
กูเกิล แอดเวิรดส์
Google AdWords บริการโฆษณาผ่านเว็บไซต์ที่ติดตั้งแอดเซนส์
กูเกิล แอนะลิติกส์
Google Analytics บริการนับสถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์ พร้อมระบบวิเคราะห์ผู้ใช้งาน
กูเกิล แอปส์
Google Apps บริการใช้งานผลิตภัณฑ์และบริการของกูเกิลผ่านทางชื่อโดเมนส่วนตัว โดยแอปพลิเคชันที่สามารถใช้งานได้เช่น จีเมล แคเลนเดอร์ ทอล์ก ด็อกส์ โดยมีการให้บริการทั้งฟรีและเสียเงิน
ไอกูเกิล
iGoogle ในชื่อเดิม เพอร์เซอนอลไลส์ ให้บริการทำหน้าเริ่มต้นในการเข้าชมเว็บไซต์ โดยสามารถนำเว็บฟีดและแกเจ็ต จากเว็บอื่นมารวมได้
Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลใน server ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ
ตัวอย่าง Search Engine ที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น
วิธีการค้นหา
เพียงพิมพ์คำที่เราต้องการค้นหา หรือที่เราเรียกว่า Key Word และกดปุ่ม Search \
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine
ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว
สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ, ข่าว, MP3 และอื่นๆ อีกมากมาย
สามารถค้นหาจากเว็บไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจัดทำไว้ เช่น download.com เว็บไซต์เกี่ยวกับข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เป็นต้น
มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล
รองรับการค้นหา ภาษาไทย
ใลงานที่ 4
การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ
1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
สืบค้นจาก www.tistr.or.th/KM/index.php?option=com
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร มีทั้งหมด 7 ขั้นตอน คือ
1. การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องใช้อะไร ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่นการสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำเป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge จัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7. การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนำความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
สืบค้นจาก http://www.dopa.go.th/iad/km/km_des.html
แหล่งข้อมูล คือ สถานที่ที่สามารถ ค้นคว้า สืบค้น เรียนรู้ ข้อมูลต่างๆแต่ละประเภทตามที่เราต้องการและอยู่ในรูปลักษณะที่ แตกต่างกันออกไป ตามที่แหล่งข้อมูลนั้นๆจะนำเสนออกมายิ่งในปัจจุบันจะมีรูปแบบในการนำเสนอ ที่หลากหลายมาก จนเราตามไม่ทันและมีข้อมูล
มากมายมหาศาล ให้เราได้เรียนรู้ สืบค้น ค้นคว้า มาใช้ในการเรียนและงานต่างๆ มากมาย
ตัวอย่างแหล่งข้อมูล ที่มีในปัจจุบัน
1. สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
2. ซีดี วีซีดี ดีวีดี วีดีโอ ภาพยนต์
3. สถานที่ต่างๆ ห้องสมุด โบราณสถาน สถานที่ท่องเที่ยว
4. เทคโนโลยีต่างๆ ทีวี วิทยุ ระบบอินเทอร์เน็ต ดาวเทียม
สืบค้นจาก http://www.ketkwanchai.info/ebook2/f6.htm
เครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Network) หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียนรู้ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ และแหล่งความรู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จนเป็นระบบที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลให้เกิดการเผยแพร่และการประยุกต์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือทางสังคม
สืบค้นจาก http://www.trang.psu.ac.th/learning2teach/index.php?option=com_content&task=view&id=60&Itemid=34
สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่นำมาสรุปประมวลผล ดำเนินการทางสถิติ เปรียบเทียบหรือดำเนินการโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับได้เข้าใจความเป็นไปหรือสถานการณ์ของสิ่งที่มีสารสนเทศนั้นเป็นตัวแทน
สืบค้นจาก http://www.nrru.ac.th/preelearning/rungrot/page13004.asp
วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
Search Engine
Search Engine
เราลองมานึกดูว่า เว็บไซต์ต่างๆ ทั่วประเทศไทยมีมากมายเพียงใด หนึ่งในแสนๆ เว็บ หรือเป็นล้านเว็บ คงเป็นการยากที่จะทราบได้ว่ามีเว็บอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด และยิ่งยากไปกว่านั้นคือจะค้นหาเว็บที่เราต้องการได้อย่างไร และนั่นคือที่มาของ Search Engine เครื่องมือดีๆ ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต.
การทำให้ติด Search Engine อย่าง (www.google.co.th) เป็นวิธีการทำ Marketing อย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากไม่ว่าจะเป็น บุคคล องค์กร หรือบริษัทฯ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการนำเสนอที่แตกต่างกัน เช่น เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร หรือเพื่อการค้าขายสินค้า.
ด้วยพฤติกรรมของผู้ใช้ Internet ในปัจจุบัน www.google.co.th เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมในเรื่องของการ Search หรือการค้นหา Web Site เป็นอย่างยิ่ง และเปอร์เซ็นต์การ Click มากที่สุด แน่นอนต้องเป็นลำดับต้นๆ หรือไม่ก็หน้าแรก เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในการ Promote องค์กร หรือค้าขายสินค้า ของท่าน ทางบริษัทฯ จึงขอแนะนำแก่สมาชิกของ biz1center.com ทุกท่าน.
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine
• ความเป็นผู้นำในด้านองค์กร หรือธุรกิจ
• เพื่อเพิ่มโอกาสในการขาย หรือให้บริการในธุรกิจของท่าน
• เป็น Marketing ที่ได้รับความนิยมสูงสุด และประหยัดที่สุด เมื่อเปรียบเทียบสื่ออื่นๆ
• เป็น Marketing แบบเดียวที่กล้าการันตรี การคืนเงิน ถ้าไม่ติด Search หน้าแรก
เงื่อนไขการให้บริการ
• ต้องเป็นสมาชิกของ www.biz1center.com ตั้งแต่ Package ขึ้นไป
• ระบุชื่อ Website ของท่าน และ Keyword ที่จะใช้ Search มา 5 Keyword
• กรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์มด้านล่าง
• เจ้าหน้าที่จะทำการวิเคราะห์รายละเอียด และ Reply Mail ติดต่อท่านเพื่อแจ้งค่าบริการ
• ท่านชำระเงิน และส่ง Slip เงินโอนมาให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายขายที่ท่านทำการติดต่อ
• ระยะเวลาในการดำเนินงาน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับชำระ
เราลองมานึกดูว่า เว็บไซต์ต่างๆ ทั่วประเทศไทยมีมากมายเพียงใด หนึ่งในแสนๆ เว็บ หรือเป็นล้านเว็บ คงเป็นการยากที่จะทราบได้ว่ามีเว็บอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด และยิ่งยากไปกว่านั้นคือจะค้นหาเว็บที่เราต้องการได้อย่างไร และนั่นคือที่มาของ Search Engine เครื่องมือดีๆ ที่ช่วยในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต.
การทำให้ติด Search Engine อย่าง (www.google.co.th) เป็นวิธีการทำ Marketing อย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างมากไม่ว่าจะเป็น บุคคล องค์กร หรือบริษัทฯ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการนำเสนอที่แตกต่างกัน เช่น เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร หรือเพื่อการค้าขายสินค้า.
ด้วยพฤติกรรมของผู้ใช้ Internet ในปัจจุบัน www.google.co.th เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมในเรื่องของการ Search หรือการค้นหา Web Site เป็นอย่างยิ่ง และเปอร์เซ็นต์การ Click มากที่สุด แน่นอนต้องเป็นลำดับต้นๆ หรือไม่ก็หน้าแรก เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในการ Promote องค์กร หรือค้าขายสินค้า ของท่าน ทางบริษัทฯ จึงขอแนะนำแก่สมาชิกของ biz1center.com ทุกท่าน.
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Search Engine
• ความเป็นผู้นำในด้านองค์กร หรือธุรกิจ
• เพื่อเพิ่มโอกาสในการขาย หรือให้บริการในธุรกิจของท่าน
• เป็น Marketing ที่ได้รับความนิยมสูงสุด และประหยัดที่สุด เมื่อเปรียบเทียบสื่ออื่นๆ
• เป็น Marketing แบบเดียวที่กล้าการันตรี การคืนเงิน ถ้าไม่ติด Search หน้าแรก
เงื่อนไขการให้บริการ
• ต้องเป็นสมาชิกของ www.biz1center.com ตั้งแต่ Package ขึ้นไป
• ระบุชื่อ Website ของท่าน และ Keyword ที่จะใช้ Search มา 5 Keyword
• กรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์มด้านล่าง
• เจ้าหน้าที่จะทำการวิเคราะห์รายละเอียด และ Reply Mail ติดต่อท่านเพื่อแจ้งค่าบริการ
• ท่านชำระเงิน และส่ง Slip เงินโอนมาให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายขายที่ท่านทำการติดต่อ
• ระยะเวลาในการดำเนินงาน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับชำระ
วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สรุปงานครั้งที่ 3
สรุปองค์ความรู้ สัปดาห์ที่ 3วันที่ 21 พฤศจิกายน 2552
การจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ - ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม - ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรมบทบาทใหม่ของการบริหารทุนมนุษย์ การบริหารทุนมนุษย์ (Human Capital Management) ต่างจากการบริหารทรัพยากรบุคคล ตรงที่เน้นความสำคัญของคุณค่าหรือมูลค่าของคนและสิ่งที่คนในองค์กรผลิตหรือสร้างขึ้นมา แต่ไม่ได้เน้นหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล ดังนั้น การบริหารทุนมนุษย์จึงเกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบของกระบวนวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล (Impact of People Management Practice) และความทุ่มเทพยายามของคนต่อความสำเร็จขององค์กร มืออาชีพหลายคนอาจจะเข้าใจผิดว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลหมดความสำคัญ และอาจจะไม่จำเป็นต้องทำไป แต่อย่างไรหน้าที่ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลก็ยังคงอยู่ต่อไป แต่ต้องทำอย่างมืออาชีพมากยิ่งขึ้น และต้องมีการปรับบทบาทการบริหารทรัพยากรบุคคลเสียใหม่ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
ข้อมูล DATA - ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประเมินผล - กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ (Information ) - ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว - ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ (Knowledge) ผลการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบ สร้างเป็นองค์ความรู้ความเฉลียวฉลาด (Wisdom) การนำเอาความรู้ต่างๆมาบูรณาการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่างๆเชาว์ปัญญา (Intelligent) ผลการปรับแต่งและความจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวรูปแบบการจัดการความรู้ ความรู้แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ - ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ - ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
วิธีการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้KM ไม่ทำไม่รู้ เรียนลัดและต่อยอดโมเดลปลาทู
“ โมเดลปลาทู” เป็นโมเดลอย่างง่าย ของ สคส. ที่เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งตัวที่มี ๓ ส่วน คือ ๑ . ส่วน “ หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “ เราจะทำ KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “ หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “ คุณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “ คุณเอื้อ” และ “ คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ ๒ . ส่วน “ ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญ ซึ่ง “ คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “ คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “ คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม ๓ . ส่วน “ หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “ คลังความรู้” หรือ “ ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บสะสม “ เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “ หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไปKnowledge Vision Knowledge Assets Knowledge Sharing KVKSKA ส่วนหัว ส่วนตามองว่ากำลังจะไปทางไหนต้องตอบได้ว่า “ ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
กระบวนการจัดการความรู้1. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้2. แสวงหาความรู้3. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้4. การสร้างความรู้5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้6. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้7. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้1. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ2. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้3. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้4. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานCoP(Community of Practice)ชุมชนนักปฏิบัติ คือ อะไร คือ ชุมชนที่มีการรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยมีลักษณะดังนี้- ประสบปัญหาลักษณะเดียวกัน- มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากกันและกัน- มีเป้าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ที่จะพัฒนาวิธีการทำงานได้ดีขึ้น- วิธีปฏิบัติคล้ายกัน ใช้เครื่องมือ และภาษาเดียวกัน- มีความเชื่อ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน- มีบทบาทในการสร้าง และใช้ความรู้- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน อาจจะพบกันด้วยตัวจริง หรือผ่านเทคโนโลยี-มีช่องทางเพื่อการไหลเวียนของความรู้ ทำให้ความรู้เข้าไปถึงผู้ที่ต้องการใช้ได้ง่าย- มีความร่วมมือช่วยเหลือ เพื่อพัฒนาและเรียนรู้จากสมาชิกด้วยกันเอง- มีปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง มีวิธีการเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่สายในทางสังคมทำให้เพิ่มพูนความรู้ที่ลึกซึ้งขึ้นเรื่อยๆ ในระดับที่ง่ายที่สุด ชุมชนนักปฏิบัติ คือ คนกลุ่มเล็กๆ ซึ่งทำงานด้วยกันมาระยะหนึ่ง มีเป้าหมายร่วมกัน และต้องการที่จะแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์จากการทำงาน กลุ่มดังกล่าวมักจะไม่ได้เกิดจากการจัดตั้งโดยองค์การ เป็นกลุ่มที่เกิดจากความต้องการทางสังคม และความพยายามที่จะทำให้บรรลุผลสำเร็จ เป็นกลุ่มที่ไม่มีอำนาจ ไม่มีการกำหนดไว้ในแผนภูมิโครงสร้างองค์กร และอาจจะมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกับผู้นำองค์กร ในหนึ่งองค์กรอาจจะมีชุมชนนักปฏิบัติจำนวนมาก และคนคนหนึ่งจะเป็นสมาชิกในหลายชุมชน ชุมชนนักปฏิบัติมีความสำคัญอย่างไร เครือข่ายความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการ เกิดจากความใกล้ชิด ความพอใจ และพื้นฐานที่ใกล้เคียงกัน ลักษณะที่ไม่เป็นทางการจะเอื้อต่อการเรียนรู้ และการสร้างความรู้ใหม่ๆ มากกว่าโครงสร้างที่เป็นทางการ คำว่า ปฏิบัติ หรือ practice ใน CoP ชี้จุดเน้นที่ การเรียนรู้ซึ่งได้รับจากการทำงาน เป็นหลัก เป็นแง่มุมเชิงปฏิบัติ ปัญหาประจำวัน เครื่องมือใหม่ๆ พัฒนาการในเรื่องงาน วิธีการทำงานที่ได้ผล และไม่ได้ผล การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทำให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก สร้างความรู้ และความเข้าใจได้มากกว่าการเรียนรู้ จากหนังสือ หรือการฝึกอบรมตามปกติ เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ ซึ่งมีสมาชิกจากต่างหน่วยงาน ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ดีกว่า การสื่อสารตามโครงสร้างที่เป็นทางการ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนนักปฏิบัติอุปสรรคของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ไม่พูด ไม่คุย - ไม่เปิด ไม่รับ - ไม่ปรับ ไม่เรียน - ไม่เพียร ไม่ทำคลังความรู้ (Knowledge Assets) ประกอบด้วย 3 ส่วน 1.เรื่องเล่าหรือคำพูดที่เร้าใจ + 2. การถอดบทเรียนที่ได้ + 3. แหล่งข้อมูลบุคคลอ้างอิง (Tacit Knowledge) (Explicit Knowledge) (References)ข้อควรระวังในการทำ KS - ให้ share "เรื่องเล่า" ไม่ใช่ share "ความคิด" - เป็น Storytelling ไม่ใช่ Problem-solving ไม่ใช่ Planning - share แล้วต้อง Learn และ Learn แล้วต้อง Lead (นำ) ...นำสู่การกระทำ ...นำสู่ภาพที่ต้องการ"ทุกความสำเร็จในองค์กร ย่อมมาจากกลยุทธ์การวางแผน การปฏิบัติ และการจัดการอย่างมืออาชีพ"
การจัดการความรู้บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์1. ผู้ดูแลทุนมนุษย์ ( Human Capital Steward )2. ผู้ประสานสัมพันธ์ ( Knowledge Facilitator )3. ผู้อำนวยความรู้ ( Relationship Bulder )4. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ ( Raped Deployment Sepecidist )ความรู้คืออะไร1. Knowledge Capital เป็นต้นทุน องค์กร ทรัพยากรมนุษย์2. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศ และข้อมูลมาเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพได้3. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาว์ปัญญาข้อมูล ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบความคิด เกิดเป็นความรู้ และความเชี่ยวชาญความเฉลียวฉลาด การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อทำงานในสาขาต่างๆเชาว์ปัญญา ผลจากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวรูปแบบของความรู้ประเภทของความรู้กับการจัดการรู้ความรู้อาจแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) คือ ความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตำรา การจัดการจะเน้นการเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบและตีความได้ เมื่อนำไปใช้จะเกิดความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นใช้อ้างอิงต่อไปความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู้แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสม มายาวนาน เป็นภูมิปัญญา การจัดการความรู้แบบนี้ จะเน้นที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่มีอยู่ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่ความรู้ใหม่ที่จะนำไปใช้งานต่อไปซึ่งในสภาพความเป็นจริง ความรู้ทั้ง 2 ประเภทเหล่านี้ มีการสับเปลี่ยนสภาพกันตลอดเวลา การจัดการความรู้ จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพความรู้เช่นโมเดลปลาทู การจัดการความรู้ในรูปแบบของ “โมเดลปลาทู” ที่แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัวปลา หรือส่วนของเป้าหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management Vision), ส่วนของตัวปลา หรือส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) และส่วนของหางปลา หรือตัวคลังความรู้ (Knowledge Assets)กระบวนการจัดการความรู้1. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้2. แสวงหาความรู้3. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้4. การสร้างความรู้5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้6. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้7. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้1. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ2. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้3. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้4. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานสร้างระบบสารสนเทศจัดการเรียนรู้การจัดเก็บความรู้เป็นระบบการค้นหาและเรียกใช้ความรู้การให้ความรู้ร่วมกันและการกระจายความรู้ความรู้ที่ฝังอยู่ในคนCOP ย่อมาจาก Community of Practice หมายถึง ชุมชนนักปฏิบัติ หรือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่รวบรวมกลุ่มคนที่มีความรู้ความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร่วมแลกเปลี่ยน แบ่งปัน เรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ร่วมกัน เพื่อได้มาซึ่ง Knowledge Assets : KA หรือ ขุมความรู้ ในเรื่องนั้น ๆ สำหรับคนในชุมชนเพื่อไปทดลองใช้ แล้วนำผลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก อันส่งผลให้ความรู้นั้น ๆ ถูกยกระดับขึ้นเรื่อย ๆ ผ่านการปฏิบัติ ประยุกต์ และปรับใช้ตามแต่สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่หลากหลาย อันทำให้งานบรรลุผลดีขึ้นเรื่อย ๆCOP เป็น 1 ใน เครื่องมือของการจัดการความรู้ (KM Tools) ประเภท Non-Technical Tools สำหรับการดึงความรู้ประเภท Tacit Knowledge หรือ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล ซึ่งซ่อนเร้นอยู่ภายในลักษณะที่สำคัญของ COP• กลุ่มคนที่รวมตัวกันโดยมีความสนใจและความปรารถนา (Passion) ร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (มี Knowledge Domain)• ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่ม เป็นชุมชน (community) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน• แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน ต้อง Practice และสร้างฐานข้อมูล ความรู้ หรือแนวปฏิบัติประโยชน์ของ COPระยะสั้น• เวทีของการแก้ปัญหา ระดมสมอง• ได้แนวคิดที่หลากหลายจากกลุ่ม• ได้ข้อมูลมากขึ้นในการตัดสินใจ• หาทางออก/คำตอบที่รวดเร็ว• ลดระยะเวลา และการลงทุน• เกิดความร่วมมือ และการประสานงานระหว่างหน่วยงาน• ช่องทางในการเข้าหาผู้เชียวชาญ• ความมั่นใจในการเข้าถึงและแก้ปัญหา• ความผูกพันในกรเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม• ความสนุกที่ได้อยู่กับเพื่อนร่วมงาน• ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่งหลายอย่างคล้ายกัน รวมทั้งอาจกำลังเผชิญปัญหาที่คล้ายคลึงกัน เมื่อได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์จะทำให้ค้นพบวิธีแก้ปัญหาระยะยาว• เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขององค์กร• เกิดความสามารถที่ไม่คาดการณ์ไว้• วิเคราะห์ความแตกต่างและตั้งเป้าหมายการปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ• แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ• เกิดโอกาสพัฒนาองค์กรอย่างก้าวกระโดด• เครือข่ายของกลุ่มวิชาชีพ• ชื่อเสียในวิชาชีพเพิ่มขึ้น• ได้รับผลตอบแทนจากการจ้างงานสูงขึ้น• รักษาคนเก่งให้อยู่กับองค์กรได้• เพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในองค์กร• ขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ลักษณะการทำ COP- แบบกลุ่มเล็ก และกลุ่มใหญ่- แบบเป็นทางการ (Public) - เปิดเผย และไม่เป็นทางการ (Private) - ส่วนตัว- แบบบนลงล่าง (Top Down) และรากหญ้า (Grass Root)- แบบแยกฝ่าย และคละฝ่าย- แบบคนในองค์กร-คนในองค์กร และคนในองค์กร-คนนอกองค์กร- แบบระหว่างคน-คน และระหว่างคน-สื่อ-คนKs ที่ดีต้องมีทั้ง Explicit และ TacitExplicit ต้องมีวิชาการ ทฤษฎี มาจากการสังเคราะห์วิจัยใช้สมอง เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์Tacit ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ ประสบการณ์ มากจากวิจารณญาณ เป็นเทคนิค เฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคน คลังความรู้ที่ดี
การจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ - ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม - ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่างๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรมบทบาทใหม่ของการบริหารทุนมนุษย์ การบริหารทุนมนุษย์ (Human Capital Management) ต่างจากการบริหารทรัพยากรบุคคล ตรงที่เน้นความสำคัญของคุณค่าหรือมูลค่าของคนและสิ่งที่คนในองค์กรผลิตหรือสร้างขึ้นมา แต่ไม่ได้เน้นหน้าที่ด้านการบริหารงานบุคคล ดังนั้น การบริหารทุนมนุษย์จึงเกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบของกระบวนวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล (Impact of People Management Practice) และความทุ่มเทพยายามของคนต่อความสำเร็จขององค์กร มืออาชีพหลายคนอาจจะเข้าใจผิดว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลหมดความสำคัญ และอาจจะไม่จำเป็นต้องทำไป แต่อย่างไรหน้าที่ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลก็ยังคงอยู่ต่อไป แต่ต้องทำอย่างมืออาชีพมากยิ่งขึ้น และต้องมีการปรับบทบาทการบริหารทรัพยากรบุคคลเสียใหม่ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
ข้อมูล DATA - ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประเมินผล - กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ (Information ) - ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว - ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ (Knowledge) ผลการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบ สร้างเป็นองค์ความรู้ความเฉลียวฉลาด (Wisdom) การนำเอาความรู้ต่างๆมาบูรณาการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่างๆเชาว์ปัญญา (Intelligent) ผลการปรับแต่งและความจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวรูปแบบการจัดการความรู้ ความรู้แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ - ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ - ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
วิธีการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้KM ไม่ทำไม่รู้ เรียนลัดและต่อยอดโมเดลปลาทู
“ โมเดลปลาทู” เป็นโมเดลอย่างง่าย ของ สคส. ที่เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึ่งตัวที่มี ๓ ส่วน คือ ๑ . ส่วน “ หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “ เราจะทำ KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “ หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “ คุณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “ คุณเอื้อ” และ “ คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ ๒ . ส่วน “ ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญ ซึ่ง “ คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “ คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “ คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม ๓ . ส่วน “ หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “ คลังความรู้” หรือ “ ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บสะสม “ เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “ หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไปKnowledge Vision Knowledge Assets Knowledge Sharing KVKSKA ส่วนหัว ส่วนตามองว่ากำลังจะไปทางไหนต้องตอบได้ว่า “ ทำ KM ไปเพื่ออะไร”
กระบวนการจัดการความรู้1. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้2. แสวงหาความรู้3. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้4. การสร้างความรู้5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้6. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้7. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้1. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ2. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้3. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้4. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานCoP(Community of Practice)ชุมชนนักปฏิบัติ คือ อะไร คือ ชุมชนที่มีการรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยมีลักษณะดังนี้- ประสบปัญหาลักษณะเดียวกัน- มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากกันและกัน- มีเป้าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ที่จะพัฒนาวิธีการทำงานได้ดีขึ้น- วิธีปฏิบัติคล้ายกัน ใช้เครื่องมือ และภาษาเดียวกัน- มีความเชื่อ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน- มีบทบาทในการสร้าง และใช้ความรู้- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน อาจจะพบกันด้วยตัวจริง หรือผ่านเทคโนโลยี-มีช่องทางเพื่อการไหลเวียนของความรู้ ทำให้ความรู้เข้าไปถึงผู้ที่ต้องการใช้ได้ง่าย- มีความร่วมมือช่วยเหลือ เพื่อพัฒนาและเรียนรู้จากสมาชิกด้วยกันเอง- มีปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง มีวิธีการเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่สายในทางสังคมทำให้เพิ่มพูนความรู้ที่ลึกซึ้งขึ้นเรื่อยๆ ในระดับที่ง่ายที่สุด ชุมชนนักปฏิบัติ คือ คนกลุ่มเล็กๆ ซึ่งทำงานด้วยกันมาระยะหนึ่ง มีเป้าหมายร่วมกัน และต้องการที่จะแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์จากการทำงาน กลุ่มดังกล่าวมักจะไม่ได้เกิดจากการจัดตั้งโดยองค์การ เป็นกลุ่มที่เกิดจากความต้องการทางสังคม และความพยายามที่จะทำให้บรรลุผลสำเร็จ เป็นกลุ่มที่ไม่มีอำนาจ ไม่มีการกำหนดไว้ในแผนภูมิโครงสร้างองค์กร และอาจจะมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกับผู้นำองค์กร ในหนึ่งองค์กรอาจจะมีชุมชนนักปฏิบัติจำนวนมาก และคนคนหนึ่งจะเป็นสมาชิกในหลายชุมชน ชุมชนนักปฏิบัติมีความสำคัญอย่างไร เครือข่ายความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการ เกิดจากความใกล้ชิด ความพอใจ และพื้นฐานที่ใกล้เคียงกัน ลักษณะที่ไม่เป็นทางการจะเอื้อต่อการเรียนรู้ และการสร้างความรู้ใหม่ๆ มากกว่าโครงสร้างที่เป็นทางการ คำว่า ปฏิบัติ หรือ practice ใน CoP ชี้จุดเน้นที่ การเรียนรู้ซึ่งได้รับจากการทำงาน เป็นหลัก เป็นแง่มุมเชิงปฏิบัติ ปัญหาประจำวัน เครื่องมือใหม่ๆ พัฒนาการในเรื่องงาน วิธีการทำงานที่ได้ผล และไม่ได้ผล การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทำให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก สร้างความรู้ และความเข้าใจได้มากกว่าการเรียนรู้ จากหนังสือ หรือการฝึกอบรมตามปกติ เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ ซึ่งมีสมาชิกจากต่างหน่วยงาน ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จได้ดีกว่า การสื่อสารตามโครงสร้างที่เป็นทางการ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนนักปฏิบัติอุปสรรคของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ไม่พูด ไม่คุย - ไม่เปิด ไม่รับ - ไม่ปรับ ไม่เรียน - ไม่เพียร ไม่ทำคลังความรู้ (Knowledge Assets) ประกอบด้วย 3 ส่วน 1.เรื่องเล่าหรือคำพูดที่เร้าใจ + 2. การถอดบทเรียนที่ได้ + 3. แหล่งข้อมูลบุคคลอ้างอิง (Tacit Knowledge) (Explicit Knowledge) (References)ข้อควรระวังในการทำ KS - ให้ share "เรื่องเล่า" ไม่ใช่ share "ความคิด" - เป็น Storytelling ไม่ใช่ Problem-solving ไม่ใช่ Planning - share แล้วต้อง Learn และ Learn แล้วต้อง Lead (นำ) ...นำสู่การกระทำ ...นำสู่ภาพที่ต้องการ"ทุกความสำเร็จในองค์กร ย่อมมาจากกลยุทธ์การวางแผน การปฏิบัติ และการจัดการอย่างมืออาชีพ"
การจัดการความรู้บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์1. ผู้ดูแลทุนมนุษย์ ( Human Capital Steward )2. ผู้ประสานสัมพันธ์ ( Knowledge Facilitator )3. ผู้อำนวยความรู้ ( Relationship Bulder )4. ผู้มีอาชีพที่เฉพาะ ( Raped Deployment Sepecidist )ความรู้คืออะไร1. Knowledge Capital เป็นต้นทุน องค์กร ทรัพยากรมนุษย์2. ความสามารถในการทำให้สารสนเทศ และข้อมูลมาเป็นการกระทำที่มีประสิทธิภาพได้3. ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ และความเชี่ยวชาญข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาว์ปัญญาข้อมูล ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมายความรู้ ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศโดยมีการจัดระบบความคิด เกิดเป็นความรู้ และความเชี่ยวชาญความเฉลียวฉลาด การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อทำงานในสาขาต่างๆเชาว์ปัญญา ผลจากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไวรูปแบบของความรู้ประเภทของความรู้กับการจัดการรู้ความรู้อาจแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) คือ ความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตำรา การจัดการจะเน้นการเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบและตีความได้ เมื่อนำไปใช้จะเกิดความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นใช้อ้างอิงต่อไปความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู้แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสม มายาวนาน เป็นภูมิปัญญา การจัดการความรู้แบบนี้ จะเน้นที่การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่มีอยู่ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่ความรู้ใหม่ที่จะนำไปใช้งานต่อไปซึ่งในสภาพความเป็นจริง ความรู้ทั้ง 2 ประเภทเหล่านี้ มีการสับเปลี่ยนสภาพกันตลอดเวลา การจัดการความรู้ จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพความรู้เช่นโมเดลปลาทู การจัดการความรู้ในรูปแบบของ “โมเดลปลาทู” ที่แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัวปลา หรือส่วนของเป้าหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management Vision), ส่วนของตัวปลา หรือส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) และส่วนของหางปลา หรือตัวคลังความรู้ (Knowledge Assets)กระบวนการจัดการความรู้1. กำหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้2. แสวงหาความรู้3. จัดเก็บ และศึกษาหาความรู้4. การสร้างความรู้5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้6. การถ่ายโอนและกลั่นกรองความรู้7. การแบ่งความรู้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้1. การจับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ2. การวิเคราะห์ความรู้ที่จับได้3. การตรวจสอบความถูกต้องของความรู้4. การสังเคราะห์ให้เหมาะสมกับการใช้งานสร้างระบบสารสนเทศจัดการเรียนรู้การจัดเก็บความรู้เป็นระบบการค้นหาและเรียกใช้ความรู้การให้ความรู้ร่วมกันและการกระจายความรู้ความรู้ที่ฝังอยู่ในคนCOP ย่อมาจาก Community of Practice หมายถึง ชุมชนนักปฏิบัติ หรือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่รวบรวมกลุ่มคนที่มีความรู้ความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร่วมแลกเปลี่ยน แบ่งปัน เรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ร่วมกัน เพื่อได้มาซึ่ง Knowledge Assets : KA หรือ ขุมความรู้ ในเรื่องนั้น ๆ สำหรับคนในชุมชนเพื่อไปทดลองใช้ แล้วนำผลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก อันส่งผลให้ความรู้นั้น ๆ ถูกยกระดับขึ้นเรื่อย ๆ ผ่านการปฏิบัติ ประยุกต์ และปรับใช้ตามแต่สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่หลากหลาย อันทำให้งานบรรลุผลดีขึ้นเรื่อย ๆCOP เป็น 1 ใน เครื่องมือของการจัดการความรู้ (KM Tools) ประเภท Non-Technical Tools สำหรับการดึงความรู้ประเภท Tacit Knowledge หรือ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล ซึ่งซ่อนเร้นอยู่ภายในลักษณะที่สำคัญของ COP• กลุ่มคนที่รวมตัวกันโดยมีความสนใจและความปรารถนา (Passion) ร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (มี Knowledge Domain)• ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่ม เป็นชุมชน (community) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน• แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน ต้อง Practice และสร้างฐานข้อมูล ความรู้ หรือแนวปฏิบัติประโยชน์ของ COPระยะสั้น• เวทีของการแก้ปัญหา ระดมสมอง• ได้แนวคิดที่หลากหลายจากกลุ่ม• ได้ข้อมูลมากขึ้นในการตัดสินใจ• หาทางออก/คำตอบที่รวดเร็ว• ลดระยะเวลา และการลงทุน• เกิดความร่วมมือ และการประสานงานระหว่างหน่วยงาน• ช่องทางในการเข้าหาผู้เชียวชาญ• ความมั่นใจในการเข้าถึงและแก้ปัญหา• ความผูกพันในกรเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม• ความสนุกที่ได้อยู่กับเพื่อนร่วมงาน• ได้รู้จักเพื่อนใหม่ที่มีหลายสิ่งหลายอย่างคล้ายกัน รวมทั้งอาจกำลังเผชิญปัญหาที่คล้ายคลึงกัน เมื่อได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์จะทำให้ค้นพบวิธีแก้ปัญหาระยะยาว• เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขององค์กร• เกิดความสามารถที่ไม่คาดการณ์ไว้• วิเคราะห์ความแตกต่างและตั้งเป้าหมายการปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ• แหล่งรวบรวมและเผยแพร่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ• เกิดโอกาสพัฒนาองค์กรอย่างก้าวกระโดด• เครือข่ายของกลุ่มวิชาชีพ• ชื่อเสียในวิชาชีพเพิ่มขึ้น• ได้รับผลตอบแทนจากการจ้างงานสูงขึ้น• รักษาคนเก่งให้อยู่กับองค์กรได้• เพิ่มโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในองค์กร• ขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ลักษณะการทำ COP- แบบกลุ่มเล็ก และกลุ่มใหญ่- แบบเป็นทางการ (Public) - เปิดเผย และไม่เป็นทางการ (Private) - ส่วนตัว- แบบบนลงล่าง (Top Down) และรากหญ้า (Grass Root)- แบบแยกฝ่าย และคละฝ่าย- แบบคนในองค์กร-คนในองค์กร และคนในองค์กร-คนนอกองค์กร- แบบระหว่างคน-คน และระหว่างคน-สื่อ-คนKs ที่ดีต้องมีทั้ง Explicit และ TacitExplicit ต้องมีวิชาการ ทฤษฎี มาจากการสังเคราะห์วิจัยใช้สมอง เป็นกฎเกณฑ์ วิธีการ ขั้นตอนที่ผ่านการพิสูจน์Tacit ภูมิปัญญา เคล็ดวิชา ปฏิบัติ ประสบการณ์ มากจากวิจารณญาณ เป็นเทคนิค เฉพาะตัว เป็นลูกเล่นของแต่ละคน คลังความรู้ที่ดี
งานชิ้นที่2
ชื่อหน่วยงาน โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
สถานที่ตั้ง ตำบล ไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ชื่อเรื่อง นวัตกรรมและสารสนเทศสู่โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา
การบริหารจัดการด้านนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการใช้นวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษาซึ่งจะต้องมีการลงทุนจำนวนมาก มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของบุคลากร และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จำเป็นต้องวางแผนและพัฒนาไปพร้อม ๆ กันให้สอดคล้องกัน เริ่มต้นด้วยการนำระบบที่ดีซึ่งผ่านการพิสูจน์หรือทดลองว่าได้ผลดีแล้วมาใช้ จะช่วยให้การบริหารจัดการง่ายขึ้นและลดปัญหาที่อาจจะคาดไม่ถึงได้มาก ระบบที่ดีต้องใช้ง่ายและสอดคล้องกับสภาพการทำงานที่มีอยู่ในเรื่องของบุคลากร ความเหมาะสมและขีดความสามารถ ในขณะเดียวกัน การประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานที่ทำอยู่จะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดเจตคติที่ดีและให้ความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพัฒนาไปใช้งานระบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้ต้องปรับเปลี่ยนระบบงานอย่างต่อเนื่อง และสิ่งสำคัญที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องก็คือประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบงานซึ่งต้องติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมทุกองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน
ภายในปี 2552 โรงเรียนบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม มุ่งมุ่งจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสุขภาพอนามัยดี มีคุณธรรมจริยธรรม เห็นคุณค่าและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ภายใต้ความร่วมมือกับชุมชนอย่างจริงจัง และบุคลากรของโรงเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนเก่ง ดี มีสุข ในสังคม
พันธกิจ
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล จะจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพ ตามหลักสูตรที่กำหนดและความต้องการของชุมชน สังคม ภายใต้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิด ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
เป้าหมายของโรงเรียน
1. เป้าหมายด้านผู้เรียน
1.1. โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.2. นักเรียนมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วนตนเอง
1.3. นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด
1.4. นักเรียนมีค่านิยมที่พึงประสงค์
1.5. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
2. เป้าหมายด้านครูผู้สอน
2.1. ครูพัฒนาตนเองตลอดเวลา
2.2. ครูสามารถประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและนำผลจากการประเมิน
มาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
2.3. ครูสามารถจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3. เป้าหมายด้านด้านบริหารจัดการ
3.1. ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชน
3.2. ผู้บริหารมีภาวะการเป็นผู้นำและมีความสามารถในการจัดการ
3.3. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
3.4. จัดโครงสร้างและการบริหารโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย
บริบทของโรงเรียน
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล มีเนื้อที่ประมาณ 4 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวาตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ห่างจากที่ตั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งอำเภอ 2 กิโลเมตร
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนเมื่อวันที่ 27 สิงหาคมาคม พ.ศ. 2475 การเรียนการสอนในสมัยนั้นมุ่งเน้นให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้ คัดเลข เป็นหลัก ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ได้โอนการศึกษาประชาบาล ไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2523 ได้โอนจากสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดไปสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประถมศึกษาโดยเฉพาะ จนมาถึงปัจจุบันนี้ได้โอนไปสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการเรียนการสอน เปิดทำการเรียนการสอน 2 ระดับ
· ระดับก่อนประถมศึกษา ( อนุบาล 1,อนุบาล 2 )
· ระดับประถมศึกษา มี 2 ช่วงชั้น คือ ช่วงชั้นที่ 1 ( ป.1 – ป.3 ) และ ช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4 – ป.6 )
ด้านบุคลากร ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน มีครูผู้สอน 10 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน และพนักงานบริการ 1 คน
ด้านจำนวนนักเรียน ในปีการศึกษา 2552 พบว่ามีนักเรียนชาย 108 คน นักเรียนหญิง81 คน รวมนักเรียนทั้งหมด 189 คน
สภาพชุมชน
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราชห่างจากที่ตั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งอำเภอ 2 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ประมาณ 40 กิโลเมตร
สภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนในท้องถิ่น ประกอบอาชีพการทำสวนยางพาราถึงร้อยละ 90 มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวปีละประมาณ 7000 บาท
สภาพทางสังคม ประชาชนในท้องถิ่นอยู่กันแบบชาวชนบททั่วไป มีความผูกพันด้านสายเลือดและเป็นเครือญาติกัน ช่วยเหลือไปมาหาสู่กัน มีการช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความรักสามัคคี ซึ่งกันและกัน ตั้งบ้านเรือนอยู่ในแหล่งประกอบอาชีพ ประชาชนรู้จักมักคุ้นไปมาหาสู่กันเป็นอย่างดี การประกอบอาชีพขึ้นอยู่กับปัจจัยเกี่ยวกับสภาพดินฟ้าอากาศ ปัญหาสังคมมีนักเรียนจำนวนหลายครอบครัวที่ครอบครัวมีปัญหาการหย่าร้างเกิดขึ้นทำให้ มีปัญหาด้านเศรษฐกิจเป็น ภาระที่โรงเรียนต้องให้การช่วยเหลือด้านทุนการศึกษาและอาหารกลางวัน สาธารณูปโภคมีเช่น โรงพยาบาล โรงเรียน ตลาด วัด ประชาชนที่ยากจนยังขาดโอกาสทางการศึกษา สมควรได้รับการแก้ไขต่อไปในอนาคต
แผนภูมิการบริหารงานโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล ปีการศึกษา 2552
นายบุญฤทธิ์ เสนาพันธ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
กรรมการสถานศึกษา
กรรมการที่ปรึกษา
นักเรียน
โครงการ
โครงการ
โครงการ
โครงการ
โครงการ
นางวนิดา เพชรประพัน
นายจำเริญ สุขาทิพย์ การบริหารงานวิชาการ
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์
นางกรุณา รอดรักษ์
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์ งานชาการ
นายพงษ์ศักดิ์ มุขแก้ว
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์ งานชาการ
นางกรุณา รอดรักษ์
นางเยาวนิตย์ ชัชชวาลย์
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานงบประมาณ
การบริหารงานทั่วไป
การบริหารงานกิจการนักเรียน
การบริหารงานบุคคล
นางกรุณา รอดรักษ์
นางสมศิริพร สิทธิเชเนทร์
นางวนิดา เพชรประพันธ์
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์
นายพงษ์ศักดิ์ มุขแก้ว
นางสมศิริพร สิทธิเชเนทร์
นางประทิน จะรา
นายจำเริญ สุขาทิพย์
นางกรุณา รอดรักษ์ งานวชาการ
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
สภาพปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
ครูเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งในการที่จะนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ เนื่องจากครูต้องเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนที่มีครูอายุค่อนข้างสูงจะไม่ค่อยชอบการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น ถ้าจะให้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อาจทำให้ครูบางคนไม่ชอบหรือบางคนอาจจะปฏิเสธ ด้วยเหตุนี้ การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไปใช้ในโรงเรียนที่มีครูอายุมาก ๆ จึงค่อนข้างจะมีปัญหา บางครั้งเทคโนโลยีอาจจะไปสร้างปัญหาให้แก่ครูแทนที่จะไปแก้ปัญหาและช่วยพัฒนางาน
ดังนั้นปัญหาหรือสิ่งที่ต้องพัฒนา คือ การเปิดการอบรมการใช้นวัตกรรมใหม่ๆให้กับครูเพื่อจะได้เกิดการยอมรับการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีและการให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ
ผู้ให้ข้อมูล นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
หน่วยงาน โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
อำเภอฉวาง
ณ วันที่18 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สถานที่ตั้ง ตำบล ไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ชื่อเรื่อง นวัตกรรมและสารสนเทศสู่โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา
การบริหารจัดการด้านนวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษา มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการใช้นวัตกรรมและสารสนเทศของสถานศึกษาซึ่งจะต้องมีการลงทุนจำนวนมาก มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของบุคลากร และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จำเป็นต้องวางแผนและพัฒนาไปพร้อม ๆ กันให้สอดคล้องกัน เริ่มต้นด้วยการนำระบบที่ดีซึ่งผ่านการพิสูจน์หรือทดลองว่าได้ผลดีแล้วมาใช้ จะช่วยให้การบริหารจัดการง่ายขึ้นและลดปัญหาที่อาจจะคาดไม่ถึงได้มาก ระบบที่ดีต้องใช้ง่ายและสอดคล้องกับสภาพการทำงานที่มีอยู่ในเรื่องของบุคลากร ความเหมาะสมและขีดความสามารถ ในขณะเดียวกัน การประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานที่ทำอยู่จะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดเจตคติที่ดีและให้ความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพัฒนาไปใช้งานระบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้ต้องปรับเปลี่ยนระบบงานอย่างต่อเนื่อง และสิ่งสำคัญที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องก็คือประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบงานซึ่งต้องติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมทุกองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน
ภายในปี 2552 โรงเรียนบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม มุ่งมุ่งจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสุขภาพอนามัยดี มีคุณธรรมจริยธรรม เห็นคุณค่าและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ภายใต้ความร่วมมือกับชุมชนอย่างจริงจัง และบุคลากรของโรงเรียนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนเก่ง ดี มีสุข ในสังคม
พันธกิจ
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล จะจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพ ตามหลักสูตรที่กำหนดและความต้องการของชุมชน สังคม ภายใต้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิด ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
เป้าหมายของโรงเรียน
1. เป้าหมายด้านผู้เรียน
1.1. โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.2. นักเรียนมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วนตนเอง
1.3. นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด
1.4. นักเรียนมีค่านิยมที่พึงประสงค์
1.5. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
2. เป้าหมายด้านครูผู้สอน
2.1. ครูพัฒนาตนเองตลอดเวลา
2.2. ครูสามารถประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและนำผลจากการประเมิน
มาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
2.3. ครูสามารถจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3. เป้าหมายด้านด้านบริหารจัดการ
3.1. ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชน
3.2. ผู้บริหารมีภาวะการเป็นผู้นำและมีความสามารถในการจัดการ
3.3. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
3.4. จัดโครงสร้างและการบริหารโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย
บริบทของโรงเรียน
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล มีเนื้อที่ประมาณ 4 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวาตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ห่างจากที่ตั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งอำเภอ 2 กิโลเมตร
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนเมื่อวันที่ 27 สิงหาคมาคม พ.ศ. 2475 การเรียนการสอนในสมัยนั้นมุ่งเน้นให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้ คัดเลข เป็นหลัก ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ได้โอนการศึกษาประชาบาล ไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2523 ได้โอนจากสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดไปสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประถมศึกษาโดยเฉพาะ จนมาถึงปัจจุบันนี้ได้โอนไปสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการเรียนการสอน เปิดทำการเรียนการสอน 2 ระดับ
· ระดับก่อนประถมศึกษา ( อนุบาล 1,อนุบาล 2 )
· ระดับประถมศึกษา มี 2 ช่วงชั้น คือ ช่วงชั้นที่ 1 ( ป.1 – ป.3 ) และ ช่วงชั้นที่ 2 ( ป.4 – ป.6 )
ด้านบุคลากร ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน มีครูผู้สอน 10 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน และพนักงานบริการ 1 คน
ด้านจำนวนนักเรียน ในปีการศึกษา 2552 พบว่ามีนักเรียนชาย 108 คน นักเรียนหญิง81 คน รวมนักเรียนทั้งหมด 189 คน
สภาพชุมชน
โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลไสหร้า อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราชห่างจากที่ตั้งจังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งอำเภอ 2 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ประมาณ 40 กิโลเมตร
สภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนในท้องถิ่น ประกอบอาชีพการทำสวนยางพาราถึงร้อยละ 90 มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวปีละประมาณ 7000 บาท
สภาพทางสังคม ประชาชนในท้องถิ่นอยู่กันแบบชาวชนบททั่วไป มีความผูกพันด้านสายเลือดและเป็นเครือญาติกัน ช่วยเหลือไปมาหาสู่กัน มีการช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความรักสามัคคี ซึ่งกันและกัน ตั้งบ้านเรือนอยู่ในแหล่งประกอบอาชีพ ประชาชนรู้จักมักคุ้นไปมาหาสู่กันเป็นอย่างดี การประกอบอาชีพขึ้นอยู่กับปัจจัยเกี่ยวกับสภาพดินฟ้าอากาศ ปัญหาสังคมมีนักเรียนจำนวนหลายครอบครัวที่ครอบครัวมีปัญหาการหย่าร้างเกิดขึ้นทำให้ มีปัญหาด้านเศรษฐกิจเป็น ภาระที่โรงเรียนต้องให้การช่วยเหลือด้านทุนการศึกษาและอาหารกลางวัน สาธารณูปโภคมีเช่น โรงพยาบาล โรงเรียน ตลาด วัด ประชาชนที่ยากจนยังขาดโอกาสทางการศึกษา สมควรได้รับการแก้ไขต่อไปในอนาคต
แผนภูมิการบริหารงานโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล ปีการศึกษา 2552
นายบุญฤทธิ์ เสนาพันธ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
กรรมการสถานศึกษา
กรรมการที่ปรึกษา
นักเรียน
โครงการ
โครงการ
โครงการ
โครงการ
โครงการ
นางวนิดา เพชรประพัน
นายจำเริญ สุขาทิพย์ การบริหารงานวิชาการ
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์
นางกรุณา รอดรักษ์
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์ งานชาการ
นายพงษ์ศักดิ์ มุขแก้ว
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์ งานชาการ
นางกรุณา รอดรักษ์
นางเยาวนิตย์ ชัชชวาลย์
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานงบประมาณ
การบริหารงานทั่วไป
การบริหารงานกิจการนักเรียน
การบริหารงานบุคคล
นางกรุณา รอดรักษ์
นางสมศิริพร สิทธิเชเนทร์
นางวนิดา เพชรประพันธ์
นางมิถยา พิทักษ์วงศ์
นายพงษ์ศักดิ์ มุขแก้ว
นางสมศิริพร สิทธิเชเนทร์
นางประทิน จะรา
นายจำเริญ สุขาทิพย์
นางกรุณา รอดรักษ์ งานวชาการ
นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
สภาพปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
ครูเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งในการที่จะนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ เนื่องจากครูต้องเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนที่มีครูอายุค่อนข้างสูงจะไม่ค่อยชอบการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น ถ้าจะให้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อาจทำให้ครูบางคนไม่ชอบหรือบางคนอาจจะปฏิเสธ ด้วยเหตุนี้ การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไปใช้ในโรงเรียนที่มีครูอายุมาก ๆ จึงค่อนข้างจะมีปัญหา บางครั้งเทคโนโลยีอาจจะไปสร้างปัญหาให้แก่ครูแทนที่จะไปแก้ปัญหาและช่วยพัฒนางาน
ดังนั้นปัญหาหรือสิ่งที่ต้องพัฒนา คือ การเปิดการอบรมการใช้นวัตกรรมใหม่ๆให้กับครูเพื่อจะได้เกิดการยอมรับการเปลี่ยนแปลงการใช้เทคโนโลยีและการให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ
ผู้ให้ข้อมูล นายวรวิชญ์ ทิพย์มลสวัสดิ์
หน่วยงาน โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล
อำเภอฉวาง
ณ วันที่18 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552
งานชิ้นที่1
ประโยชน์ของ Google ในการบริการ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 3 กลุ่ม โดยแบ่งออกตามความสามารถในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้1. บริการในกลุ่มดัชนีค้นหา(Search Engines) Google Web Search Features ประกอบด้วยบริการค้นหาต่อไปนี้ Book Search :· บริการค้นหาหนังสือแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการใหม่ของ Google ที่เพิ่งเปิดให้บริการกับแฟนหนังสือโดยเฉพาะ Cached Links· :บริการช่วยจับประเด็นหรือหัวเรื่องสำคัญของเว็บไซต์ที่คุณต้องการจะค้นหา · Calculator : เครื่องคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่คุณสามารถตั้งตัวเลข โดยคีย์ลงในช่องค้นหาของ Google แล้วคลิ้กหาคำตอบที่ต้องการได้เลย · Currency Conversion : บริการแปลงหน่วยมาตราเงินสำหรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตรา · Definitions : หมวดคำศัพท์ที่คุณสามารถค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย · File Types : ดัชนีค้นหาสินค้าออนไลน์ทั่วทุกมุมโลก Groups :· ถ้าหากว่าคุณอยากรู้ข้อมูลข่าวสารที่มีคนโพสต์กันบนเว็บไซต์ สามารถค้นหาได้จากบริการนี้ I ‘m Feeling Lucky :· ปุ่มบริการดัชนีค้นหาที่ช่วยให้ค้นหาเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว และตรงประเด็น โดยข้ามลิงก์ของเว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ถูกตัดออกไป Images :· ระบบดัชนีค้นหารูปภาพที่คลิกได้ง่าย และเร็วทันใจ Local Search :· บริการค้นหาธุรกิจและบริการต่าง ๆ ที่เปิดในสหรัฐ อังกฤษ และแคนาดา · Movie : คุณสามารถเข้าไปดูรีวิวภาพยนตร์หรือว่าตารางโปรแกรมฉายแบบเรียลไทม์ได้จากฟีเจอร์นี้ · Music Search : ดัชนีค้นหาเพลงหรือว่าดนตรีที่มีให้บริการฟังเพลงออนไลน์หรือว่าดาวน์โหลดเพลงจากทั่วโลก News Headlines :· บริการที่ทำให้คุณสารารถรู้ข้อมูลข่าวสารทันในที่ส่งมาจากรอบโลกแบบเรียลไทม์ · PhoneBook : บริการค้นหาเบอร์โทรศัพท์และเลขที่บนท้องถนนของสหรัฐอเมริกา Q·&A : บริการใหม่ที่คุณอยากรู้อะไรเกี่ยวกับ Google บริการนี้ตอบปัญหาให้คุณได้ทุกเรื่อง Similar Pages :· บริการแสดงหน้าเว็บเพจที่แสดงผลในหน้าเว็บที่เกี่ยวข้อง Site Search :· กำหนดขอบเขตของการค้นหาเว็บไซต์ให้แคบลง Spell Checker :· เครื่องมือช่วยในการสะกดคำ Stock Quotes :· ดัชนีค้นหาสำหรับราคาหุ้นแบบเรียลไทม์ Travel Information :· บริการตรวจสอบสายการบินในสหรัฐ รวมถึงรายงานสภาพอากาศของสนามบิน · Weather : บริการตรวจสอบสภาพอากาศและการพยากรณ์อากาศในทุกรัฐของสหรัฐ Web· Page Translation : บริการแปลหน้าเอกสารภาษาอังกฤษเป็นภาษาอื่น ๆ 2. บริการในกลุ่ม Google Services Alerts :· Answer :·บริการแจ้งเตือนข่าวสารและผลการค้นหาผ่านอีเมล์แบบออนไลน์ บริการตอบคำถามให้กับคุณได้ทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ โดยนักวิจัยชื่อดังกว่า 500 คน Blog Search : บริการค้นหาหัวข้อเรื่องที่เป็น Blog· Catalogs :·ในประเด็นที่คุณสนใจ บริการค้นหารายการสินค้าที่คุณสนใจและต้องการจะสั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์ · Directory : บริการค้นหาสาระสำคัญต่าง ๆ ที่อยู่บนเว็บไซต์ Labs :· บริการใหม่ ๆ ของ Google ที่คุณสามารถเข้าไปทดสอบใช้งานได้ฟรี ก่อนที่จะออกมาเป็นชุดเต็มของโปรแกรม Mobile : บริการหลักของ Google· ที่สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องโทรศัพท์มือถือ เช่น บริการดัชนีค้นหาเอกสาร รูปภาพ หรือส่ง SMS News : บริการรายงานข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ· จากทั่วทุกมุมโลกที่มีให้คุณได้อ่านก่อนใคร Scholar :· บริการค้นหาเอกสารงานวิจัยใหม่ ๆ รวมทั้งบทคัดย่อจากห้องสมุดใหญ่ ๆ มากมาย · Special Searches : บริการค้นหาประเด็นสาธารณะในส่วนที่เป็นองค์กร หรือว่าสถาบันที่ไม่หวังผลกำไรต่างๆ รวมถึงบริการค้นหาเว็บไซต์ของสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีรายละเอียดในเรื่องของหลักสูตรการสอนและระเบียบวิธีการเข้าศึกษาต่อทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย · Video : บริการค้นหารายการทีวีทางโทรทัศน์ เกมโชว์ มิวสิควิดีโอ ที่คุณสามารถเช่าชั่วโมงมาดูกันแบบออนไลน์ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของคุณ3. บริการในกลุ่ม Google Tools Blogger :· เว็บไซต์ที่มีเครื่องมือสำหรับสร้าง Blogger ของคุณเอง Code :· เครื่องมือสำหรับดาวน์โหลด APls และ Source code Desktop :· เครื่องมือสำหรับช่วยค้นหาไฟล์และข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ · Earth : เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถค้นหาแผนที่โลกจากดาวเทียม · Gmail : บริการอีเมล์รุ่นทดสอบของ Google ที่มีความจุกว่า 2.6 กิกะไบต์ · Pack : ชุดเครื่องมือรวมฮิตของ Google รวมถึงบราวเซอร์สุดเก่ง ·Firetox Picasa : เครื่องมือสำหรับการบริหารและจัดการรูปภาพทั้งหมดที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์ · Local for Mobile : เครื่องมือสำหรับค้นหาแผนที่ของสถานที่ต่าง ๆ บนโทรศัพท์มือถือ Talk : เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถพูดคุย ส่งอีเมล์· กับเพื่อนของคุณแบบเรียลไทม์ออนไลน์ Toobar :· กล่องเครื่องมือที่ทำให้เว็บไซต์ของคุณสามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเข้าไปที่เว็บไซต์ของ Google Translate :· เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถดูเว็บไซต์ได้หลาย ๆ ภาษา Labs :· กลุ่มของชุดเครื่องมือใหม่ ๆ ของ Google ที่คุณสามารถเข้าไปทดลองดาวน์โหลดได้ฟรี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)